วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556

ขอควรคำนึงในการใช้ซอฟต์แวร์

ขอคำนึงในการใช้ซอฟต์แวร์





 -วัตถุประสงค์ในการใช้งาน
- ลิขสิทธิ์ คือ สามารถติดตั้งและใช้งานซอฟต์แวร์เหล่านั้นได้หรือไม่
- เนื่องจากซอฟต์แวร์ทุกประเภทจะมีสิทธิ์ในการใช้ที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องทำความเข้าใจในเรื่องนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์
- “ลิขสิทธิ์” หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์การกระทำใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น
- “ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์” หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สิทธิ์ในการใช้งานและทำซ้ำถูกจำกัดหรือสงวนสิทธิ์ไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทำ ผู้อื่นไม่สามารถนำมาใช้งานหรือทำซ้ำได้นอกจากได้รับอนุญาตในสิทธิ์นั้นจากเจ้าของ

- ซอฟต์แวร์ที่ถูกเรียกว่าเป็น “ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial Software)” หรือ “License software”


เป็นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นเพื่อจำหน่าย หรือมีจุดประสงค์เพื่อเชิงการค้า
ซึ่งซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่มักจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์
ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows, ระบบปฏิบัติการ Mac OS X, Microsoft Office, โปรแกรมของบริษัท Adobe เช่น Photoshop เป็นต้น
- ซอฟต์แวร์ที่ถูกเรียกว่าเป็น “แชร์แวร์ (Shareware)”


เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่มีความสามารถครบถ้วนหรืออาจจะตัดความสามารถบางส่วนออกไป หรือจำกัดจำนวนข้อมูลในการใช้งาน
โดยสามารถนำไปทดลองใช้งานได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เช่น ใช้งานได้เพียง 15 หรือ 30 วันเท่านั้นถ้าทดลองใช้งานแล้วพบว่าสามารถนำไปใช้งานได้ ตรงกับความต้องการ ก็สามารถชำระเงินให้กับผู้ผลิตซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานต่อไปได้
- ซอฟต์แวร์ที่ถูกเรียกว่าเป็น “แชร์แวร์ (Shareware)”


เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่มีความสามารถครบถ้วนหรืออาจจะตัดความสามารถบางส่วนออกไป หรือจำกัดจำนวนข้อมูลในการใช้งาน
โดยสามารถนำไปทดลองใช้งานได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เช่น ใช้งานได้เพียง 15 หรือ 30 วันเท่านั้น ถ้าทดลองใช้งานแล้วพบว่าสามารถนำไปใช้งานได้ ตรงกับความต้องการ ก็สามารถชำระเงินให้กับผู้ผลิตซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานต่อไปได้
- ซอฟต์แวร์ที่ถูกเรียกว่าเป็น “Freeware”


เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่ถูกสร้างขึ้น และสามารถนำไปใช้ได้ในทุกจุดประสงค์โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
แต่ไม่อนุญาตให้นำซอฟต์แวร์นี้ไปใช้ในเชิงการค้าได้
- ซอฟต์แวร์ที่ถูกเรียกว่าเป็น “ซอฟต์แวร์เสรี (Free Software)” หรือจะเรียกอีกชื่อว่า “Open-source software”

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น